top of page

หอเก็บน้ำ

หอเก็บน้ำ

๑. ความเปนมา

เมื่อปพุทธศักราช ๒๕๕๗ พระอธิการกุหลาบ อัคคจิตโต รายงานปญหาเรื่องปริมาณฝนและคุณภาพของน้ำ จากพื้นที่วัดปาธรรมอุทยานใหทราบวา ฝนตกปริมาณนอยและคุณภาพน้ำยังไมไดมาตรฐาน เมื่อถึงคราวจัดงานปฏิบัติธรรมมีผูคนมาใชจํานวนมาก น้ำไมเพียงพอตอการใชสอย

 

จากขอมูลดังกลาว พระมหาอาย ธีรปญโญ จึงรับเปนผูประสานศรัทธาจัดสรางหอเก็บน้ำขนาดสูงเพื่อสูบนําบาดาลขึ้นไปกักเก็บน้ำแลวปลอยลงสูที่ต่ำใชสอยตามจุดสําคัญตางๆ กลาวตาม ลักษณะทางธรณีวิทยาภูมิประเทศของวัดปาธรรมอุทยาน มีลักษณะตั้งอยูบนเนินสูงของลูกคลื่น ชาวบานเรียกวา “มอ” คลายหลังเตาลาดขึ้นลงไปตามลําดับ ปาไมเปนปาเบญจพรรณหรือปาโคก ดินมีสภาพเปนดินไรกับดินคละ สภาพดินฟาอากาศมีความแตกตางจากจังหวัดอื่นที่อยูเขตรอบนอกของภาคอีสาน เพราะมหาสารคามอยูตรงกึ่งกลางภาคในเขตที่เรียกวาเปนเขตเงาฝนจึงมีฝนนอยกวาจังหวัดอื่น

๒. แนวคิดและขนาดลักษณะ

หอเก็บน้ำหลังนี้กอสรางแบบทฤษฎีกลักน้ำ โดยถายเทของเหลวจากที่สูงลงไปสูที่ต่ำอยางตอเนื่อง โดยใชพลังงานธรรมชาติ หอเก็บน้ำทําจากโครงสรางเหล็กแบบเรียบงาย หลังคาทรงปนหยา มุงดวยเมทัลชีทสีเขียว ขนาดหลังคากวาง ๓ เมตร ยาว ๓ เมตร ชายคายื่น ๐.๕๐ เมตร  ความสูง ๙.๕๐ เมตร ขางบนหอเก็บ น้ำมีถังขนาดใหญจุน้ำได ๘,๐๐๐ ลิตร เปนอุทกาคารสําหรับเก็บน้ำดีและจายน้ำไปยังเสนาสนะตางๆ ภายในวัด งบประมาณในการกอสรางทั้งสิ้น ๓๕๐,๐๐๐ บาท (สามแสนหาหมื่นบาทถวน) 

๓. เจาภาพและอัตถจารีชน

คุณสุภาพร หอพรสิริ, คุณนวลอนงค เจริญตนภูบาล และคณะศรัทธาชนสายบุญพุทธภูมิ : ผูสรางถวาย

นายภานุวัฒน จันลาวงศ : ผูออกแบบ

พระอธิการกุหลาบ อัคคจิตโต : ผูควบคุมดูแลการกอสราง

พระมหาอาย ธีรปญโญ : ผูใหแนวความคิดจัดสราง

๔. ประโยชนใชสอย

เปนสถานที่ใชเปนหอเก็บน้ำเพื่อปลอยใชสอยบริเวณเขตกุฏิกรรมฐาน และเขตบริเวณอื่นๆ ที่ใกลเคียง

bottom of page