top of page

อุโบสถพุทธชยันตี

พุทธานุสาวรียบูชาสูสายธารศรัทธาพุทธศาสนิกชน

๑. ความเปนมา 

เมื่อปลายเดือนเมษายนปพุทธศักราช ๒๕๕๕ คุณนริศ เชยกลิ่น คุณจันทนา ศรีวิริยะเลิศกุล และคณะบุญภาคีพุทธบริษัท ไดจัดทริปเดินทางไปนมัสการพระธาตุสําคัญในภาคอีสาน และทําบุญทอดผาปาสรางอาคารเรียนเฉลิมพระเกียรติ ๘๔ พรรษา ณ โรงเรียนบานหวยทราย โดยการนําบุญของพระมหาอาย ธีรปญโญ กระทั่งทอดผาปาและวางกอนอิฐสรางเสาธงโรงเรียนบานหวยทรายเสร็จแลว ชวงบายของวันที่ ๒๘ เมษายน ๒๕๕๕ คณะธรรมยาตราไดแวะทําบุญทอดผาปาบํารุงอารามและเขาฟงธรรมจากพระสงฆวัดปาธรรมอุทยาน ซึ่งมีพระอธิการกุหลาบ อัคคจิตโต เปนเจาอาวาส

 

จากนั้นคณะเดินเทาลัดเลาะไปตามทางปาโคกดินแดงผานตนไมนอยใหญซึ่งแผกิ่งกานใหความรมรื่นสงบสบาย จนผานทะลุไปถึงบริเวณพื้นที่ของวัดตรงที่พระสงฆปรับกองดินไว เพื่อจะปลูกสรางอุโบสถหลังเล็กๆ ตามวิถีของพระสายปา กอนขึ้นรถบัสปรับอากาศเดินทางไปยังนมัสการพระธาตุนาดูน คณะธรรมยาตราจึงไดสนทนาธรรมกับพระอธิการกุหลาบ อัคคจิตโต พระมหาเดน ฐิตธัมโม และทราบความประสงคของทางวัดที่จะสรางอุโบสถหลังเล็กไวทําสังฆกรรมและใชงบประมาณกอสรางไมมาก พอขึ้นรถบัสทานพระมหาอาย ธีรปญโญ จึงประกาศบอกใหทุกคนทราบและอนุโมทนารวมกันตามกําลัง จนเปนเหตุใหคุณนริศ เชยกลิ่น คุณพุทธิพงษ ดานบุญสุต ไดปรึกษาหารือกันวา “หากมีบุญรวมชาติมีวาสนารวมกันก็จะขอรับโอกาสนี้เปนเจาภาพบุญหลักเพื่อสรางอุโบสถหลังเล็กๆ นี้ ถวายไวในพระพุทธศาสนานอมเปนพุทธบูชา เนื่องในปมหามงคลพุทธชยันตี ณ วัดปาธรรมอุทยาน จังหวัดมหาสารคาม” คณะธรรมยาตราญาติธรรมทั้งคันบัสจึงเปลงวาจาสาธุการรับบุญโดยทั่วกัน จากวันนั้นซึ่งเปนจุดเริ่มตนของบุญศรัทธากลายมาเปนกุศลปญญาสรางอุโบสถพุทธชยันตี ณ ปจจุบันนี้

๒. โยงอดีตสูปจจุบันเพื่อคนหารากเหงาสิมอีสาน 

วัฒนธรรมงานชางประเภทศาสนาคาร “อุโบสถ หรือโบสถ” เปนคําเรียกในวัฒนธรรมงานชางภาคกลาง ซึ่งคนไทยอีสานจะเรียกกันว่า “สิม” กรอนมาจากคําบาลีวา “สีมา” หมายถึง เขตแดนที่กําหนดในการประชุมทําสังฆกรรมอันเปนกิจของสงฆโดยมีแผนสีมาหินเปนเครื่องหมายแสดงขอบเขตรอบบริเวณตัวสิมเขตแดน ลักษณะโดยทั่วไปของสิมอีสาน จะแบงได ๒ ประเภท ตามสภาพของแหลงที่ตั้ง คือ “สิมนําและสิมบก”

 

สิมนํา เปนสิมที่ตั้งอยูกลางนํา เชน สระ หนอง บึง สวนใหญเปนอาคารที่สรางอยางชั่วคราวสําหรับวัดที่ยังไมมีวิสุงคามสีมา สวนสิมบก จะเปนสิมที่ตั้งอยูบนแผนดิน มีลักษณะเปนอาคารถาวร เชน สิมกอผนังแบบดั้งเดิม, สิมโถง, สิมกอผนัง รุนหลัง, และสิมแบบผสม หากมองโดยภาพรวมการสรางสิมอีสานหรือโบสถอีสานในยุคกอน แถบลุมจังหวัดอุบลราชธานี รอยเอ็ด มหาสารคาม มักจะไดรัับอิทธิพลศิลปะวัฒนธรรมลาวยุคลานชางนิยม ซึ่งสืบทอดจากรูปแบบจากสายสกุลชางพื้นบานและรูปแบบเชิงชางสายกลุมเจานายพื้นเมือง เขามาเกี่ยวของไมมากก็นอย ทั้งนี้นาจะมีสาเหตุมาจากพื้นฐานทางประวัติศาสตร สังคม วัฒนธรรม การเมือง และมิติทางดานเชื้อชาติที่ใกลเคียงกัน การสรางสิมหรืออุโบสถถือเปนศิลปะสถาปตยกรรมชั้นสูงชนิดหนึ่ง และเปนศาสนาคารสําคัญที่สุดในองคประกอบสิ่งกอสรางภายในวัดพุทธเถรวาทไทย กระนั้น “อุโบสถ” ยังถือเปนศิลปะสถาปตยกรรมที่บงบอกความเจริญดานภูมิปญญาและดาน วัฒนธรรมประเพณีของมนุษยแตละยุคสมัยไดเปนอยางดี

๓. แนวคิดและความสําคัญ

อุโบสถมีลักษณะเปนอาคารสถานที่พระสงฆใชประชุมทําสังฆกรรมตามพระธรรมวินัย เดิมทีคณะสงฆวัดปาธรรมอุทยานจะสมมติเอาพื้นที่โลง แลวกําหนดขอบเขตสังฆกรรมสถานขึ้นใชสอยเปนการชั่วคราว บางครั้งเกิดภัยธรรมชาติจากลมฟาฝนแดด ตลอดถึงสัตวเลื้อยคลานเขามาในขณะประชุมกิจสงฆ ตองหยุดทําสังฆกรรมก็บอยครั้ง ปรารภเหตุเชนนี้ ทางคณะพุทธบริษัทผูศรัทธาในนามกลุมบุญภาคีพุทธบริษัทและคณะอุบาสกอุบาสิกาวัดปาธรรมอุทยาน จึงมีฉันทานุมัติรวมกันจัดสรางอุโบสถขึ้นโดยใชชื่อโครงการวา “อุโบสถพุทธชยันตี” หมายถึงอุโบสถที่สรางขึ้นมาเพื่อนอมถวายเปนพุทธบูชาในการฉลองมหามงคลสมัยสัมพุทธชยันตี มีวัตถุประสงคเพื่อใชเปน อาคารสถานที่ใชประกอบศาสนกิจสําคัญและนอมถวายเปนพุทธบูชาฉลองพุทธชยันตี ๒,๖๐๐ ป แหงการตรัสรูของพระพุทธเจา

 

ในแงความสําคัญนั้น อุโบสถมีความสําคัญในฐานะเปนอาคารที่พระสงฆใชประชุมทําสังฆกรรมตามพระวินัย เปนที่ประดิษฐานพระพุทธประธานของวัด เปนธรรมสถานที่ทําวัตรเชาเย็นของพระภิกษุสามเณร เปนเขตแดนที่พระเจาแผนดินพระราชทานใหแกสงฆเปนพิเศษ เรียกวา “วิสุงคามสีมา” การกอสรางอุโบสถพุทธชยันตีของวัดปาธรรมอุทยาน ไดรับทุนจัดสรางจากการบริจาคของคณะกรรมการดําเนินงานกอสรางอุโบสถพุทธชยันตี และรับบริจาคจากพุทธศาสนิกชนทั่วไปตั้งแตปพุทธศักราช ๒๕๕๕ - ๒๕๖๐ รวมเป็นเงินทั้งสิ้น ๓๓,๓๓๓,๓๓๓ บาท (สามสิบสามลาน สามแสน สามหมื่น สามพัน สามรอย สามสิบสามบาทถวน)

๔. แรงบันดาลใจและลักษณะสถาปตยกรรม
ตัวอุโบสถในแถบอีสานเรียกกันวา “สิม” มักมีขนาดเล็กพอแกการใหพระสงฆเขาใชทําสังฆกรรมเทานั้น ไมรองรับพุทธศาสนิกชน เนื่องจากถือเปนพื้นที่เฉพาะสําหรับพระสงฆ ตอมาแนวคิดในการใชพื้นที่รวมกันก็มีมากขึ้น ภายหลังจากอิทธิพลจากพื้นที่อื่นๆ แผขยายเขามา กอปรกับลักษณะทางวัฒนธรรมของสังคมเปลี่ยนแปลงไป ความพรอมดานกําลังทางเศรษฐกิจมีมากขึ้น จึงไดพบเห็นการสรางสิมที่มีขนาดใหญรองรับผูคนจํานวนมากได  เอกลักษณของสิมอีสานจะสราง “ชอฟา” หรือ “สัตตบริภัณฑ” ไวกลางสันหลังคาเพื่อสื่อความหมายของเขาพระสุเมรุ ทําใหพื้นที่อาคารนี้มีความสําคัญและศักดิ์สิทธิ์เหนือกวาอาคารใดๆ ซึ่งลักษณะนี้ยังอาจพบไดในศิลปกรรรมแบบลานนาและลานชางดวย  สวนปลายยอดจั่วที่เรารูจักกันในชื่อวา “ชอฟา” แบบภาคกลางทางอีสานจะเรียกวา “โหง” นั่นเอง

 

อุโบสถพุทธชยันตีหลังนี้ ตัวอาคารอุโบสถไดแรงบันดาลใจในการออกแบบโดยเชื่อมโยงจากอารยสถาปตยกรรม ๓ ยุค คือ ยุคทวารวดี ยุคลานชาง ยุคลานนาแลวมาผสมผสานกับสถาปตยกรรมแนวรวมสมัย อุโบสถพุทธชยันตีจึงมีความเปนเอกลักษณและอัตลักษณอยางลงตัวสมเปนสถาปตยกรรมแหงยุคสมัย โครงสรางเนนความเรียบงาย “ดูสะอาดตา-พาสบายใจ” โดยมุงประโยชนใชสอยตามระบบนิเวศวิทยาเชิงพุทธในความเปนวัดกรรมฐานสายปาอีสาน อาคารอุโบสถมีลักษณะชั้นเดียว ขนาดกวาง ๒๘ เมตร ยาว ๓๗ เมตร กออิฐถือปูนทั้งหลัง มีชอฟาหางหงษ เรือนยอดรัตนเจดียประดิษฐานอยูดานบน เปนศาสนาคารที่อํานวยประโยชนในการประกอบสังฆกรรมสําคัญ เชน สวดพระปาฏิโมกข อุปสมบทพิธี กฐินกรรมพิธี อีกทั้งสืบสานงานศิลปกรรม ไทยอีสานใหคงอยูตราบนานเทานาน

๕. สรางศิลปกรรมสูสื่อธรรมสอนคน 

หากเดินเขาไปในอุโบสถพุทธชยันตีจะมองเห็นวงลอธรรมจักรไมสักแกะสลัก ๘ ชิ้น ที่ประดับเรียงรายจากประตูทางเขาจนถึงองคพระพุทธประธาน หากมองดวยสติปญญาก็จะเขาใจ ถึงสื่อการสอนผานศิลปกรรมชั้นเอก ๘ ชิ้น ซึ่งสื่อความหมายถึงมรรคมีองค ๘ และดานหลังพระประธานที่เปนไมสักแกะสลักในรูปแบบประภามณฑล หมายถึง โพธิญาณตรัสรูของพระพุทธเจา และพระพุทธรูปปางดวงตาเห็นธรรม ประทับนั่งบนกอนหิน สื่อความหมายถึงทรงประทับอยูทามกลางธรรมชาติ เปนรมณียสถานที่ใหความรมรื่น ผอนคลายสงบเย็น แกผูที่แวะเวียนเขามาพักพิงบรรยากาศโดยรวมของหองอุโบสถตองการใหมีลักษณะเหมือนถ้ำธรรมชาติ และตรงกลางองคเหนือเศียรพระประธานจะมีดอกลายประกอบอีก ๘ ดวงลอมรอบ สื่อความหมายถึงการเดินทางในธรรมหรือการปฏิบัติตามรอยทางแหงอริยมรรคเมื่อถึงที่สุดปลายทางแลว มรรคทั้ง ๘  นั้น ก็หลอมรวมกันเปนดวงธรรมหนึ่งเดียวคือ “มัคคสมังคีวิมุตติ” จิตรวมศีล สมาธิ ปญญา เขามาเปนอันหนึ่งอันเดียวกันสูความหลุดพน โดยลายดอกตอนบนมีความหมายซอนกัน ๒ ความหมายคือ ความหมายแหงการรูแจง ตื่น เบิกบานในธรรม และความหมายแหงการประกาศพระธรรมหรือกงลอธรรมที่หมุนไปนับแตพระพุทธองคทรงตรัสรูและแสดงปฐมเทศนา ซึ่งสอดรับกับพุทธลักษณะของพระประธานเบื้องลาง ภาพโดยรวมของผังฝาเพดานทั้งชุดจะสื่อความหมายซอนทับกับแนวคิดที่กลาวทั้งหมดอีกครั้ง ซึ่งเปนการนําเสนอรูปแบบทางศิลปกรรมที่มีความเชื่อมโยงกับปจจัยเกี่ยวของตางๆ

 

โครงการงานแกะสลักไม้สักวงล้อธรรมจักรทั้ง ๘ ชิ้น สร้างถวายโดย คุณฉัตรชัย เอื้อคารวะ คุณณรงค์ฤทธิิ์ เอี่ยมเจริิญยิ่ง คุณสรกฤษณ์ ปิยมนูรังษี และคณะญาติธรรมกัลยาณมิตร เพื่อน้อมถวายบูชาคุณพระรัตนตรัย

๖. ขนาดของอุโบสถ

การกอสรางอุโบสถพุทธชยันตี เปนการออกแบบใหมทั้งหลัง มีปรากฏแหงเดียวในโลก การกอสรางตองการสื่อถึงความเรียบหรูเงียบงาย มีภูมิสถาปตยกรรมรวมสมัย ตอบโจทยคนยุคปจจุบันที่แสวงหาสิ่งใหมทางอิทธิปญญา สําคัญที่สุดคือ งายตอการบํารุงรักษา พรอมทั้งปองกันนกพิราบจับจองพื้นที่ ซึ่งสามารถสรุปขนาดรายละเอียดของโครงสรางและชวงงานอุโบสถพุทธชยันตี ไดดังนี้

 

ชวงที่ ๑ จากลานประทักษิณ-ฐานพระประธาน

- มีฐานลานประทักษิณ ขนาดกวาง ๓๒.๔๐ เมตร ยาว ๔๑.๔๐ เมตร สูงจากระดับพื้นดิน ๑ เมตร  

- บันไดทางขึ้นฐานลานประทักษิณ มีจํานวน ๘ จุด ขนาดกวาง ๘.๖ เมตร

- ซุมใบเสมา มีจํานวน ๘ ทิศ ขนาดกวาง ๑.๕๕ เมตร ยาว ๑.๕๕ เมตร สูง ๓.๔๓ เมตร

- ฐานมุขบันได ขนาดยาว ๔.๓๐ เมตร

- ฐานตัวเรือนสูง ๐.๙๐ เมตร

- ระเบียงคต มีขนาดกวาง ๒ เมตร ราวระเบียงสูง ๐.๙๐ เมตร

- เสารอบระเบียงคตมีจํานวน ๒๔ ตน

- บันไดทางขึ้นระเบียงคต จํานวน ๖ จุด  

- บันไดดานหนาและดานหลัง ขนาดกวาง ๖.๕๐ เมตร

- บันไดทางขึ้นดานขาง จํานวน ๔ จุด มีขนาดกวาง ๓.๓ เมตร

- ผนังภายในอุโบสถ ขนาดกวาง ๑๐ เมตร ยาว ๑๙ เมตร

- เพดานสูง ๗.๔๐ เมต

-  ฐานพระประธานสูง ๒ เมตร 

ชวงที่ ๒ จากลานประทักษิณ-เรือนยอดพุทธเจดีย

- ความสูงจากพื้นดินรอบนอกอุโบสถถึงเรือนยอดพุทธเจดียขนาดสูง ๒๕.๒๐๖ เมตร

- ความสูงจากพื้นลานประทักษิณรอบบนถึงเรือนยอดพุทธเจดียขนาดสูง ๒๔.๒๐๖ เมตร

- ซุมรวงผึ้งสแตนเลสตัวกลาง ขนาดกวาง ๓.๓๓๓ เมตร สูง ๘.๑๓ เมตร

- ซุมรวงผึ้งสแตนเลสดานซายและขวา ขนาดกวาง ๑.๘๓๓ เมตร สูง ๖.๐๒๓ เมตร

- ซุมประตูทางเขาอุโบสถดานหนา จํานวน ๑ บาน ขนาดกวาง ๒.๘๐ เมตร สูง ๓.๗๐ เมตร

- ซุมประตูทางเขาดานหลัง จํานวน ๒ บาน ขนาดกวาง ๒.๓๕ เมตร สูง ๓.๗๐ เมตร

- ซุมหนาตางรอบตัวอาคารอุโบสถ จํานวน ๑๒ บาน กวาง ๒.๓๕ เมตร สูง ๓.๗๐ เมตร

- เรือนยอดพุทธเจดีย (องคยอดพระธาตุนาดูนจําลอง) ขนาดกวางและยาว ๒.๓๗๔ เมตร สูง ๗.๓๘๓ เมตร

- ภายในเรือนยอดพุทธเจดียใชเปนหองประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ

- เรือนยอดธรรมเจดียใชเปนหองประดิษฐานพระไตรปฎกฉบับภาษาบาลี ขนาดกวาง ๐.๘๓ เมตร สูง ๒.๕๘๒ เมตร

- เรือนยอดสังฆเจดียใชเปนหองประดิษฐานบริขารพระสงฆครูบาอาจารย ขนาดกวาง ๐.๘๓ เมตร สูง ๒.๕๘๒ เมตร

- หนาบันอุโบสถตรงฐานที่ติดตั้งตราสัญลักษณอุโบสถ ขนาดยาว ๓.๗๔๗ เมตร สูง ๓.๒๔๕ เมตร

- หลังคาชั้นลางลาดเอียง ๔๓ องศา หลังคาชั้นบนลาดเอียง ๖๐ องศา

- ชอฟา ขนาดยาว ๔.๖๙๙ เมตร สูง ๘.๕๕ เมตร

- หางหงษขนาดกวาง ๐.๖๒๕ เมตร ยาว ๓ เมตร

๗. พระราชทานวิสุงคามสีมา

อุโบสถพุทธชยันตี ไดประกาศในราชกิจจานุเบกษา หนา ๑ เลม ๑๓๓ ตอนพิเศษ ๒๐๙ ง ๑๙ กันยายน ๒๕๕๙ ความวา “ประกาศสํานักนายกรัฐมนตรี เรื่องพระราชทานวิสุงคามสีมา, ตามที่ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ พระราชทานวิสุงคามสีมา งวดที่ ๒ ประจําป ๒๕๕๙ ใหแกวัด ตางๆ จํานวน ๗๕ วัด ไปแลวนั้น บัดนี้ ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ พระราชทานวิสุงคามสีมา งวด ที่ ๓ ประจําป ๒๕๕๙ ใหแกวัดที่มีชื่อในบัญชีทายประกาศนี้ จํานวน ๑๐๒ วัด ตามเขตที่กําหนดไว ในบัญชีนั้น และใหนายอําเภอทองที่ปกหมายเขตใหถูกตองตามที่กําหนดไว, (เลขที่ ๕๗ วัดปาธรรม อุทายาน ตําบลกําพี้ อําเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม ตั้งวัด พ.ศ.๒๕๕๕ ขนาดอุโบสถ กวาง ๒๘ เมตร ยาว ๓๗ เมตร คณะสงฆภาค ๙)”,

ประกาศ ณ วันที่ ๒๖ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๕๙

ผูรับสนอง พระบรมราชโองการ วิษณุ เครืองาม รองนายกรัฐมนตรี 

๘. คณะทํางานผูปดทองหลังพระ

พระมหาอาย ธีรปญโญ

ผูจุดประกายความคิดและประสานบุญศรัทธา

พระอธิการกุหลาบ อัคคจิตโต และคณะสงฆวัดปาธรรมอุทยาน

ผูใหความอนุเคราะหเกื้อทาน-เอื้อธรรมทุกอยางตั้งแตตนจนจบโดยสวัสดี

พระเอกชัย อรินทโม

ผูออกแบบสิ่งพิมพและผูอยูเบื้องหลังกิจกรรมบุญกุศล

 

คุณนริศ เชยกลิ่น และคณะกรรมบุญภาคีพุทธบริษัท  

ผูเปนประธานอุปถัมภจัดหาทุนสรางและอํานวยการจัดสราง

คุณจันทนา ศรีวิริยะเลิศกุล

เลขานุการ, ผูดูแลงานบัญชี-การเงินและประสานบุญศรัทธาทุกภาคสวน

นายภานุวัฒน จันลาวงศ

สถาปนิกผูออกแบบ

นายสมเกียรติ รอดดียิ่ง    

ผูควบคุมการกอสราง

คุณธเนษ ลิ้มโสภาธรรม-คุณมนัสนันท กาญจนบุตร  

มัณฑนากร

อาจารยประกิจ ลัคนผจง  

สถาปนิกสถาปตยกรรมไทย

บริษัท ฤทธา จํากัด    

งานโครงสรางชวงเสาเข็ม ฐานรากและคานคอดิน

บริษัท อิตาเลียนไทย ดีเวลอปเมนต จํากัด (มหาชน)  

งานโครงสรางเสา คาน หลังคาและโครงสรางทั่วไป

bottom of page