top of page

พระพุทธประธาน

พระธรรมจักรอนุตรเทศนาญาณสิชฌโนดม

๑. ประวัติพระพุทธประธาน

หลังจากวันตรัสรูแลวได ๒ เดือน พระพุทธเจาทรงแสดงปฐมเทศนาดวยบทพระธรรมจักกัปปวัตตนสูตร ซึ่งเปนพระสูตรวาดวยการหมุนวงลอธรรม ทรงแสดงแกพระปญจวัคคียที่ปาอิสิปตนมฤคทายวัน แขวงเมืองพาราณสี ในวันอาสาฬหปูรณมี ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๘ พระธรรมเทศนามีใจความสําคัญ คือ ทรงใหงดเวนทางสุดโตง ๒ สาย ไดแก กามสุขขัลลิกานุโยค การประกอบตน ใหหมกมุนในกาม และอัตตกิลมถานุโยค ทําตนเองใหลําบาก จากนั้นทรงแสดงมัชฌิมาปฏิปทา (ทางสายกลาง) ไดแก มรรคมีองค ๘ อันเปนขอปฏิบัติใหถึงทางดับทุกข และอริยสัจ ๔ ความจริงอันประเสริฐ ไดแก ทุกข สมุทัย นิโรธ มรรค

 

เมื่อแสดงธรรมจบลง โกณฑัญญพราหมณ หนึ่งในปญจวัคคียไดดวงตาเห็นธรรมมีความเห็นแจงชัดวา

“ยํ กิฺจิ สมุทยธมฺมํ สพฺพนฺตํ นิโรธธมฺมนฺติ

สิ่งใดสิ่งหนึ่งมีความเกิดขึ้นเปนธรรมดา สิ่งนั้นทั้งหมดมีความดับเปนธรรมดา”

 

โกณฑัญญพราหมณสําเร็จเปนพระโสดาบันในวันนั้น เปนบุคคลแรกในพุทธศาสนาที่ไดสําเร็จเปนอริยบุคคล จากนั้น พระพุทธเจาทรงเริ่มประดิษฐานพระพุทธศาสนาในชมพูทวีป เนื่องจากมีองคประกอบของพระรัตนตรัยครบถวนคือ พระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ เหตุการณนี้เกิดขึ้นกอนพุทธศักราช ๔๕ ปี

๒. ความเปนมา

สืบเนื่องจากปพุทธศักราช ๒๕๕๕ ชาวพุทธทั่วโลกไดจัดงานพุทธชยันตี ๒,๖๐๐ ป แหงการตรัสรูของพระพุทธเจา คณะสงฆวัดปาธรรมอุทยานและคณะบุญภาคีพุทธบริษัท ซึ่งนําโดย คุณนริศ เชยกลิ่น ประธานเจาหนาที่บริหาร บริษัท สิงหเอสเตท จํากัด (มหาชน) ไดมีกุศลศรัทธาสรางอุโบสถพุทธชยันตี กําหนดเขตกวาง ๒๘ เมตร ยาว ๓๗ เมตร อุโบสถหลังนี้ตั้งอยูบนพื้นที่วัดปา ๑,๐๐๐ กวาไร ของจังหวัดมหาสารคาม โดยประกอบพิธีวางศิลาฤกษเมื่อวันเสารที่ ๙ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๕๕ ตรงกับวันแรม ๕ ค่ำ เดือน ๗ ปเถาะ เวลา ๐๙.๑๙ น. การกอสรางอุโบสถหลังนี้ก็เพื่อประโยชนใชสอยในการประกอบศาสนกิจของพระภิกษุสงฆ และนอมถวายเปนพุทธบูชาฉลองพุทธชยันตี ๒๖๐๐ ป แหงการตรัสรูของพระพุทธเจา

 

ตอมาเมื่อป พ.ศ. ๒๕๕๖ คณะกรรมการจัดสรางอุโบสถพุทธชยันตีจึงมีมติจัดสรางพระพุทธประธานเพื่ออัญเชิญประดิษฐานภายในอุโบสถ โดยอาศัยหลักความเชื่อตามคตินิยมวา “การสรางพระพุทธประธานหรือสรางรูปเปรียบพระพุทธเจานั้น จัดเปนอุทเทสิกเจดียและเปนพุทธานุสติ ชาวพุทธนิยมสรางขึ้นเพื่อนอมระลึกถึงพระพุทธองคในฐานะผูใหกําเนิดพระพุทธศาสนา และทรงประกาศสันติธรรมแกชาวโลกใหมีสันติสุขอยางแทจริง” คณะสงฆวัดปาธรรมอุทยาน และคณะบุญภาคีพุทธบริษัทไดระลึกถึงพระพุทธจริยาดังกลาว จึงไดจัดสรางพระประธาน “ปางดวงตาเห็นธรรม” ขนาดหนาตักกวาง ๑.๙๙ เมตร สูง ๓ เมตร ทองเหลือง ไมปดทอง ซึ่งเปนพุทธปฏิมาที่ออกแบบจากหลอมรวมศิลปะจากอดีตสูปจจุบันอยางลงตัว การจัดสรางพระประธานนี้ วัตถุประสงคเพื่อนอมถวายเปนพุทธบูชาในมหาสมัยพุทธชยันตี ๒,๖๐๐ ป แหงการตรัสรูของพระพุทธเจา และเพื่ออัญเชิญประดิษฐานภายในอุโบสถพุทธชยันตี ใหเปนพุทธานุสาวรียในการ กราบไหวบูชาของพุทธศาสนิกชน อีกทั้งเปนการสืบอายุพระพุทธศาสนาใหสถาพรตอไป

๓. ลักษณะพระพุทธประธาน

พุทธลักษณะของพระพุทธรูปปางดวงตาเห็นธรรมนี้ เปนพระพุทธปฏิมาที่จัดสรางขึ้นโดยอาศัยแรงบันดาลใจและแนวความคิดจากพระพุทธรูปปางปฐมเทศนาที่พิพิธภัณฑสารนาถประเทศอินเดีย การออกแบบจัดสรางพระประธานปางนี้จึงมีลักษณะแตกตางพิเศษจากพระประธานปางอื่นๆ ที่มีปรากฏอยูในพระพุทธศาสนา พระพุทธประธานปางดวงตาเห็นธรรมออกแบบโดย คณะกรรมการบุญภาคี ผูจัดสรางอุโบสถพุทธชยันตี โดยมีนายปรัชญา แกวประดิษฐ (ชางตอง) นายชางผูเชี่ยวชาญพุทธปฏิมากรรมเปนผูปนแบบ และดําเนินพิธีการหลอแลวเสร็จโดย บานหลอพิจิตรพุทธปฏิมาของนายสุรพล วชิรนันท (ชางตุม) กลาวตามลักษณะของ พระพุทธรูปปางดวงตาเห็นธรรมนี้ อยูในพระอิริยาบถประทับนั่งขัดสมาธิราบบนพุทธบัลลังก ทรงครองจีวรพาดสังฆาฏิยาวมีริ้วตามธรรมชาติ พระหัตถซายนิ้วชี้ไปที่วงลอธรรมจักรบนฝาพระหัตถขวา สวนพระหัตถขวายกตั้งขึ้นเสมอพระอุระ จีบพระอังคุฐ เขากับพระดรรชนีในทาแสดงธรรมนิ้วพระหัตถงองุมลงเล็กนอยภายในพระหัตถมีวงกงลอธรรมจักร เปนกิริยาคติวา “ขอใหไดดวงตาเห็นธรรม”

๔. พิธีหลอพระพุทธประธาน  

พระพุทธรูปปางดวงตาเห็นธรรม เปนพุทธศิลปอันทรงคุณคาทางปฏิมากรรมสมัยรัตนโกสินทร องคพระหลอดวยทองเหลืองรมสีคราบสนิมโลหะ (Patina) โดยชางผูมีฝมือชํานาญการพิเศษ มีขนาดสูงพรอมฐาน ๓ เมตร หนาตักกวาง ๑.๙๙ เมตร จัดพิธีหลอในวันศุกรที่ ๒๔ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ ตรงกับวันวิสาขบูชา ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๖ ปมะโรง เวลา ๑๓.๑๙ น.  ณ วัดปาธรรมอุทยาน มหาสารคาม โดยมี พระเทพสิทธาจารย (นอย ญาณวุฑฺฒมหาเถร) เจาอาวาสวัดมหาชัย พระอารามหลวง, เจาคณะจังหวัดมหาสารคาม เปนประธานพิธีฝายบรรพชิต, นายนพวัชร สิงหศักดา ผูวาจังหวัดมหาสารคาม เปนประธานพิธีฝายฆราวาส, นายนริศ เชยกลิ่น เปนประธาน ดําเนินงานจัดสรางพระประธานปางดวงตาเห็นธรรม  

 

อนึ่งในวันทําพิธีหลอพระพุทธประธานปรากฏมีพุทธศาสนิกชนรวมพิธีจํานวน ๗๐๐ กวา คน และหลังจากพิธีหลอองคพระเสร็จแลว เกิดความมหัศจรรยมีฝนตกนอกฤดูอยางหนัก สรางความปลาบปลื้มปติดีใจ แกผูรวมพิธีเปนอยางยิ่ง ทําใหพื้นที่บริเวณวัดปาและชุมชนโดยรอบเกิดความชุมชื่นเย็นสบายตลอดทั้งวัน นับเปนนิมิตหมายแหงความรมเย็นเปนสุข จากการสรางพระพุทธประธานปางดวงตาเห็นธรรม เพื่อประดิษฐานบนผืนแผนดิน ที่ตั้งแหงพระพุทธศาสนาจังหวัดมหาสารคาม

๕. พิธีอัญเชิญและสถานที่ประดิษฐาน  

คณะสงฆและคณะกรรมการไดจัดพิธีอัญเชิญพระพุทธประธาน เขาประดิษฐานบนฐานภายในอุโบสถพุทธชยันตี ในวันศุกรที่ ๑๔ กุมภาพันธ พ.ศ.๒๕๕๗ ตรงกับวันมาฆบูชา ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๓ ปมะเส็ง เวลา ๐๙.๑๙ น. ณ วัดปาธรรมอุทยาน ตําบลกําพี้ อําเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม ทั้งนี้เพื่อใหพุทธศาสนิกชนกราบไหวบูชาสักการะเกิดพุทธานุสติ เปนแนวทางดําเนินชีวิตและอาศัยพระพุทธประธานปางดวงตาเห็นธรรม เปนเครื่องปลื้มใจระลึกถึงจริยาของพระพุทธเจา

๖. นามพระพุทธประธาน

เจาประคุณสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย (ประยุทธ ปยุตฺโต), กรรมการมหาเถรสมาคม, เจาอาวาสวัดญาณเวศกวัน อําเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม, หลวงพอผูเปนเอกบัณฑิตแหงพระพุทธศาสนา ไดประทานนามพระพุทธประธานวา

“พระธรรมจักรอนุตตรเทศนาญาณสิชฌโนดม”

(อานวา พระ-ทํา-มะ-จัก-กระ, อะ-นุต-ตะ-ระ-เท-สะ-นา, ยา-นะ-สิด-ชะ-โน-ดม)

แปลวา

“พระพุทธเจาผูสูงสุดโดยการทรงฤทธิ์ดวยพระญาณ ซึ่งพระเทศนาอันยอดเยี่ยม คือพระธรรมจักร” นับเปนเกียรติประวัติของคณะกรรมการจัดสรางอุโบสถพุทธชยันตี และเปนหลักฐานสําคัญใหมวลพุทธบริษัทไดเจริญปติโสมนัสในความเมตตาของหลวงพอสมเด็จฯ จักเปนสิริมงคลตอแผนดินวัดปาธรรมอุทยานตลอดถึงพุทธบริษัทมหาสารคามตราบนิรันดร

๗. คํากลาวบูชาพระพุทธประธาน

(คําบูชาบาลีไทย)

อิมินา สักกาเรนะ อิมัสสะมิง พุทธะชะยันติอุโปสะถาคาเร สุปะติฏฐิตัง

ธัมมจักกะ-อะนุตตะระ-เทสะนา-ญาณะสิชฌะ-โนตะมัง นามะ พุทธะปะฏิรูปง อะภิปูชะยามะ,

เอตัส สานุภาเวนะ มัยหัญจะ ปยะชะนานัญจะ โสตถี ภะวะตุ สัพพะทาฯ

(คําแปล)

ขาพเจาทั้งหลาย ขอนอมบูชาโดยยิ่ง ซึ่งพระพุทธรูป อันมีนามวา

พระธรรมจักรอนุตรเทศนาญาณสิชฌโนดม ที่ประดิษฐานดีแลว ในโรงอุโบสถพุทธชยันตีนี้

ดวยเครื่องสักการะนี้, ดวยอานุภาพแหงบุญสักการะนี้

ขอความสุขสวัสดี จงมีแกขาพเจา และแกปยชนทั้งหลาย ตลอดกาลทุกเมื่อเทอญฯ

bottom of page