top of page

ตักสิลาวโนทยาน

๑. ความเปนมา

มหาสารคามไดชื่อวา “เมืองแหงการศึกษา” หรือ “แผนดินแหงสะดืออีสาน” เปนจังหวัดที่มีเอกลักษณโดดเดนหลายประการ ประชาชนมีลักษณะเปน “สังคมแหงภูมิปญญา” เพียบพรอมดวยภูมิรูภูมิธรรม มีวิถีชีวิตเรียบงาย เมืองตั้งอยูกึ่งกลางของภาคอีสาน ไมมีภูเขา มีแมน้ำชีไหลผาน เปนที่ตั้งสถานศึกษาทุกระดับชั้น จึงเปนที่มาของชื่อวา “ตักสิลานคร” จุดเดนความเปนตักสิลานคร เพราะมีสถาบันการศึกษาระดับสูงสุดหลายแหง สามารถผลิตทรัพยากรแรงงานระดับคุณภาพที่จะตอบสนองความตองการดานเทคโนโลยีและธุรกิจหลากหลาย ซึ่งสอดคลองกับความตองการทางเศรษฐกิจและแนวทางการพัฒนาประเทศไทย

 

อาศัยเหตุเชนนี้ พระอาจารยมหาเดน ฐิตธัมโม รองเจาอาวาส และอาจารยใหญฝายวิปสสนาของวัดปาธรรมอุทยาน จึงมีแนวความคิดสรางประติมากรรมเลาเรื่องราวผานปูนปนเพื่อเปนคติธรรมและแฝงขอคิดสําหรับการดําเนินชีวิตแบบมองเห็นภาพดูเห็นผล เรียกอีกอยางวา “ตักสิลาวโนทยาน” หมายถึงอุทยานปาแหงการศึกษาธรรมเฉกเชนมหาวิทยาลัยตักสิลาครั้งพุทธกาล เปนประติมากรรมปูนปนเลาเรื่องพุทธประวัติ พระเวสสันดร สุภาษิตคําสอน ผญาอีสาน สวนสวรรคและสวนนรกภูมิ ตั้งเรียงรายเปนหมวดหมูเหมาะสําหรับเยาวชนนักเรียนและผูคนทั่วไป ลักษณะการเที่ยวชมประติมากรรมปูนปนนี้ สามารถนําพาผูชมจินตนาการเห็นภาพโดยไมตองอธิบาย

๒. แนวคิดและลักษณะการปนหลอ

ประติมากรรมเปนงานศิลปะที่แสดงออกดวยการปน แกะสลัก หลอ และการจัดองคประกอบความงามอื่นลงบน สื่อตางๆ เชน ไม หิน โลหะ สัมฤทธิ์ ฯลฯ เพื่อใหเกิดรูปทรง ๓ มิติ มีความลึกหรือนูนหนา สามารถสื่อถึงสิ่งตางๆ สภาพสังคมวัฒนธรรมรวมถึงจิตใจของมนุษยโดยชิ้นงาน ผานการสรางของประติมากร ประติมากรรมเปนแขนงหนึ่งของทัศนศิลป ผูทํางานประติมากรรม มักเรียกวา ประติมากร การเกิดขึ้นของตักสิลาวโนทยาน เปนสื่อการสอนแบบ “มองวัตถุ-ทะลุถึงธรรม” ผูริเริ่มแนวความคิดและนําพาลูกศิษยปน คือ พระอาจารยมหาเดน ฐิตธัมโม อาจารยใหญฝายวิปสสนากรรมฐาน พรอมดวยลูกศิษยคือ นายศิริเพชร แสนมี (ชางตุบ) ซึ่งใชเวลาปนตั้งแตป ๒๕๕๖ ถึงปจจุบัน ตักสิลาวโนทยานแบงเปน ๓ หมวด คือ  

๑) ประติมากรรมปนปูนเกี่ยวกับเหตุการณพุทธประวัติ ตอนประสูติ ตรัสรู ปรินิพพาน, เหตุการณชัยชนะ ๘ ประการ ของพระพุทธเจาที่ปรากฎในบทสวดพาหุง, เหตุการณเรื่องพระเวสสันดรชาดก

๒) ประติมากรรมปนปูนเกี่ยวกับเหตุการณการเสวยวิบากกรรมผูทําบาปกรรมแลวตกนรก-ผูทําความดีแลวไปสวรรค

๓) ประติมากรรมปนปูนเกี่ยวกับสุภาษิตคําสอน ผญา ของชาวอีสานและอื่นๆ อีกมากมาย 

๓. เจาภาพและประติมากร

พระอาจารยมหาเดน ฐิตธัมโม : ผูปนประติมากรรม

โครงการปลูกตนกลาในนาบุญ (บรรพชาสามเณรภาคฤดูรอน) รุนที่ ๑-๕ และผูศรัทธาทั่วไป : ผูสรางถวาย

นายศิริเพชร แสนมี (ชางตุบ) : ประติมากร

๔. ประโยชนใชสอย

เปนแหลงทัศนศึกษาและพักผอนทางจิตวิญญาณสําหรับทุกเพศวัย, เปนสถานที่ฝกบุคลากรในการเรียนรูศิลปะปูนปน, เปนสื่อการสอนเรื่องนรกภูมิ-สวรรคภูมิ ตามแนวพระพุทธศาสนาเพื่อใหคนเห็นโทษของบาปบุญคุณโทษ และเปนสถานที่ทองเที่ยวธรรมนาสนใจอีกแหงของจังหวัดมหาสารคาม

bottom of page