top of page

   หอภาวนาพุทธคยา

๑. ความเปนมา

เมื่อเดือนมกราคม ปพุทธศักราช ๒๕๖๐ พระมหาอาย ธีรปญโญ นําบรรยายคณะผูแสวงบุญประกอบดวย คุณวิลาวันย โรจนเพียรสถิต พรอมดวยครอบครัวและคณะญาติธรรม บริษัท บริวาร กัลยาณมิตร ซึ่งมีคุณพอประวิทย-คุณแมอรุณี โรจนะเพียรสถิต เปนประธานบุญยาตราในครั้งนั้น คณะผูแสวงบุญเดินทางไปนมัสการพระธาตุและกราบพอแมครูบาอาจารยพระกรรมฐานสายปา ตามเสนทางลุมแมโขงของภาคอีสาน หลังจากจบทริปบุญคุณวิลาวันย โรจนเพียรสถิต เกิดศรัทธาเลื่อมใสยิ่ง จึงแจงความประสงคกับคณะสงฆวัดปาธรรมอุทยาน ขอเปนเจาภาพสรางศาลาปฏิบัติธรรมเพื่อตอบบุญแทนคุณพอแม และถวายใหเปนธรรมสถานปฏิบัติธรรมของพุทธศาสนิกชน กาลตอมา คุณวิลาวันย โรจนเพียรสถิต และครอบครัว ไดหลอมรวมศรัทธาหลอพระประธานปางสมาธินามวา “พระพุทธโรจนเพียรสถิตมหามุนี” ในวันวิสาขบูชา วันพุธที่ ๑๐ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๖๐ ตรงกับวันขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๖ ประกา เวลา ๐๙.๑๐ น. ณ บานหลอพิจิตรพุทธปฏิมา จังหวัดนนทบุรี จากนั้นในวันแมแหงชาติ ๑๒ สิงหาคม ๒๕๖๐ ไดอัญเชิญพระพุทธประธานขึ้นประดิษฐานบนแทนภายในหอภาวนาพุทธคยา จึงตั้งชื่อศาลาปฏิบัติธรรมวา “หอภาวนาพุทธคยา” 

๒. แนวคิดและขนาดลักษณะ

หอภาวนาพุทธคยาเปนศาลาคูแฝดกับหอแจกสารนาถ การออกแบบเนนความเรียบงาย พอเพียง พอใช พอดี พองาม ฟงกชั่นการใชงานมีความหลากหลาย ตอบโจทยวิถีชีวิตคนยุคปจจุบัน เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม รักษาแบบสถาปตยกรรมความเปนอีสานโบราณไว หอภาวนาพุทธคยามีลักษณะเปนอาคารไทยอีสานประยุกตชั้นเดียว กออิฐถือปูนทั้งหลัง ไมมีชอฟาใบระกา หลังคาคลุม สูง ๒ ชั้น มุงดวยแผนเมทัลชีทสีเขียว ขนาดกวาง ๑๐ เมตร ยาว ๒๕ เมตร สูง ๑๐ เมตร ทางเดินรอบศาลาเทพื้นคอนกรีตเสริมเหล็ก ไมฝากรอบประตูหนาตางทําจากไมสักและประตูทางเขาแกะสลักเปนรูปหงษและมังกรอยางสวยงาม ภายในศาลาประดิษฐาน “พระพุทธโรจนเพียรสถิตมหามุนี” หลอดวยทองเหลือง ปดทอง ปางสมาธิ พุทธลักษณะแบบสุโขทัย ขนาดหนาตักกวาง ๓๐ นิ้ว ถัดจากหองพระประธานตอยื่นเปนหองพักพระวิปสสนาจารย หอภาวนาพุทธคยาใชงบกอสรางทั้ง สิ้น ๒,๓๐๐,๐๐๐ (สองลานสามแสนบาทถวน)

๓. เจาภาพและอัตถจารีชน

คุณพอประวิทย-คุณแมอรุณี โรจนเพียรสถิต, คุณวิลาวันย โรจนะเพียรสถิต และครอบครัว ผูสรางถวาย

นายภานุวัฒน จันลาวงศ ผูออกแบบ,

พระอธิการกุหลาบ อัคคจิตโต ผูควบคุมดูแลการกอสราง

พระมหาอาย ธีรปญโญ ผูใหแนวความคิดสราง

 

๔. ประโยชนใชสอย

เปนสถานที่ปฏิบัติธรรม, ศาลาฟงธรรม, รับรองพระมหาเถระ, รับรองพุทธศาสนิกชน, ประชุมสัมมนา, หองพักพระวิปสสนาจารย, จัดกิจกรรมในวันสําคัญทางพระพุทธศาสนา และบําเพ็ญกิจกุศลอื่นๆ ตามโอกาสอันควร 

bottom of page