top of page

อุโมงค์ธรรม

ต้นหางนกยูง

๑. ความเปนมา

ตนปพุทธศักราช ๒๕๖๐ คุณอภิศักดิ์ ธนเศรษฐกร, คุณพิสิฏฐ ภัสฐาพงษ, คุณวิภาวรรณ พงษพิลาสาร, คุณกฤชวรรณ ซื้อเจริญชัย, คุณศิริลักษณ จันทร, คุณนราวดี ธนเศรษฐกร และกลุมญาติธรรมกัลยาณมิตรผูศรัทธาในพระพุทธศาสนา โดยมีคุณณัฐยา แซเฮง คุณเพชรา รัตนพฤกษสกุล เปนจิตอาสาผูประสานงาน จัดหาพันธุไม ออกแบบการปลูก จัดระบบบํารุงรักษา และเปนผูลงพื้นที่ปลูกปา กลุมญาติธรรมทั้งหมดนี้ไดปวารณาเปนอัตถจารีชนขอเปนสะพานบุญเปนเจาภาพจัดภูมิทัศนภายในวัดและปลูกตนหางนกยูง ขนาด ๒-๓ เมตร ปลูกระหวาง ๒ ขางทางของถนนซึ่งมี ความยาว ๑,๗๕๖ เมตร จํานวน ๕๐๐ ตน เมื่อตนหางนกยูงเติบโตเต็มที่จะลักษณะเปนอุโมงคตนไมอันสวยงาม เปนถนนสายหลักไปกราบพระพุทธประธาน และนมัสการพระบรมสารีริกธาตุ

 

กาลตอ มาเมื่อวันที่ ๒๘ กรกฏาคม พ.ศ.๒๕๖๐ ซึ่งเปนวันเฉลิมพระชนมพรรษาของสมเด็จพระเจาอยูหัว มหาวชิราลงกรณบดินทรเทพยวรางกูร รัชกาลที่ ๑๐ คณะสงฆวัดปาธรรมอุทยาน รวมกับผูนําชุมชนและชาวบานทองถิ่นพากันปลูกตนหางนกยูงเปนปฐมมงคลตนแรก ระยะจากปากทางเขาวัดไปสิ้นสุดที่หนาลานพระธาตุดินแดง ทั้งนี้โดยวัตถุประสงคเพื่อนอมถวายเปนพุทธบูชาและนอมอุทิศถวายเปนพระราชกุศลแดพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ ๙ ตามปรัชญาแนวความคิดวา “ปลูกตนหางนกยูงไวในพระพุทธศาสนา เสมือนหนึ่งปลูกตนบุญภาวนาประดับไวในชีวิต”

๒. แนวคิดและลักษณะพันธุไม

"ปลูกฝนปาใหแผนดินไทย ปลูกดวงใจภักดิ์แดองคราชัน ปลูกปญญาไวในพระพุทธศาสนา ปลูกอนุสาวรียความดีเปนของขวัญชีวิต”

พระพุทธศาสนามีหลักคําสอนใหคนดูแลรักษาสิ่งแวดลอม เพราะปาไมถือวา “เปนรมณียสถาน” ที่ควรตอการปลีกกายวิเวกเพื่อใหเกิดจิตติวิเวกความสงบทางจิตใจ จากการศึกษาทางพุทธประวัติจะพบวา พระพุทธเจาและเหลาพุทธสาวกอาศัยปาไมนอยใหญเปนที่เจริญสติปฏิบัติธรรมสูการพนทุกขทั้งนั้น การปลูกปาครั้งนี้เนนการปลูกตนหางนกยูง ซึ่งเปนไมยืนตนขนาดกลาง เมื่อตนโตเต็มที่จะมีความสูงประมาณ ๑๒-๑๘ เมตร มีเรือนยอดแผกวาง เปนทรงกลมคลายรมและแผกิ่งกานออกคลายกับตนจามจุรี แตจะมีขนาดเล็กกวาลําตนหางนกยูงฝรั่ง ลักษณะลําตนจะเกลี้ยง เปลือกมีสีนําตาลออนอมขาวถึงสีน้ำตาลเขม โคนตนเปน พูพอน และเมื่อตนโตเต็มที่มักจะมีรากโผลขึ้นมาบนดินโดยรอบ ซึ่งตนหางนกยูงฝรั่งจะขยายพันธุดวยวิธีการใชเมล็ดเปนหลัก แตก็สามารถใชวิธีการติดตาตอกิ่ง และเสียบยอดก็ไดเชนกัน โดยจะเจริญเติบโตไดดีในดินทั่วไป  

๓. เจาภาพและอัตถจารีชน

คุณอภิศักดิ์ ธนเศรษฐกร, คุณพิสิฏฐ ภัสฐาพงษ, คุณวิภาวรรณ พงษพิลาสาร, คุณกฤชวรรณ ซื้อเจริญชัย, คุณศิริลักษณ จันทร, คุณนราวดี ธนเศรษฐกร และกลุมญาติธรรมกัลยาณมิตร เปนเจาภาพ, คุณณัฐยา แซเฮง, คุณเพชรา รัตนพฤกษสกุล ผูจัดหาพันธุไมและออกแบบจัดปลูก, คุณบุญเยี้ยม คําโฮง, คุณคลาย วงละคร ผูประสานงานสวนทองถิ่น, พระอธิการกุหลาบ อัคคจิตโต และคณะสงฆวัดปาธรรมอุทยาน ผูใหการบํารุงรักษา, และพระมหาอาย ธีรปญโญ ผูใหแนวความคิดจัดปลูก

๔. ประโยชนของอุโมงคตนหางนกยูง

ไดปลูกปาสองขางทางเปนอุโมงธรรม-ถนนแหงความดี, ไดสรางความรมรื่นสวยงามอยางมีเอกลักษณ, ไดมีอุโมงคเปนรมเงาตลอดเสนทางจากปากเขาวัดจนถึงพระธาตุดินแดง และเปนแหลงทองเที่ยวทองธรรมของจังหวัดมหาสารคาม 

bottom of page