top of page

ศิลาพระเกตุแก้วโพธิญาณ

๑. ความเปนมา

เมื่อกลางเดือนกรกฎาคมปพุทธศักราช ๒๕๖๐ ในชวงกาลเขาพรรษาขณะที่ทานพระมหาอาย ธีรปญโญ ไดอธิษฐานเขาจําพรรษาปที่ ๒๐ ณ วัดปาธรรมอุทยาน จังหวัดมหาสารคาม คุณภุชคฤน ตั้งตรงเจตนา (เบ็ท) เจาของโรงแรมนาคนครา จังหวัดเชียงราย ซึ่งเปนลูกศิษยคนหนึ่งที่มีจิตใจงดงามและมีนิสัยชอบทําบุญใฝการปฏิบัติธรรมเปนปกติวิสัย ไดสื่อสารมาสนทนาธรรมและถามสภาพความเปนอยูในปาโคกดินแดง อันเปนรมณียวิปสสนาสถานแหงตักสิลานคร จึงทราบความประสงคที่ทานพระมหาอาย ธีรปญโญ มีจิตกุศลจะสรางสังเวชนียสถานที่ตรัสรูจําลองเพื่อนอมถวายเปนพุทธบูชา และเปนแหลงศึกษาพุทธประวัติเชิงคติสัญลักษณที่แฝงดวยปริศนาธรรมอันเหมาะสําหรับคนยุคปจจุบัน เปนเหตุใหคุณภุชคฤน ตั้งตรงเจตนา ปวารณารับบุญมงคลนี้ไวในความอุปถัมภ

 

กาลตอมาก็ปรากฏเปน “ศิลาพระเกตุแกวโพธิญาณ” หมายถึง หินแกะสลักยอดโพธิญาณ เพื่อบูชาพระปญญาธิคุณของพระสัมมาสัมพุทธเจา ผูตรัสรูชอบไดโดยพระองคเอง พุทธประติมากรรมนี้ตั้งเดนเปนสงา ณ ดานหลังอุโบสถพุทธชยันตี ประดิษฐานมั่นคง ณ ริมขอบสระมุจลินทสิงหนาคราช หากเพงพินิจดวยความสงบใจและฝกสมองมองปริศนาธรรมที่ซอนอยูในองคศิลาพระเกตุแกวโพธิญาณ จักคนพบรหัสธรรมเพื่อนําไปไขสูหนทางอริยมรรคดับทุกขโดยไมมีสวนเหลือได

๒. ยอดพระเกศสูยอดพุทธศิลป

ในเมืองไทยมีประติมากรรมแหงหนึ่ง ที่ศูนยประชุมแหงชาติสิริกิติ์ปนเปนเปลวรัศมีแบบเดียวกับยอดแหลมเหนือพระเศียรของพระพุทธปฏิมา เรียกกันวา “โลกุตระ” หรือเรียกทั่วไปวา “ยอดพระเกตุมาลา” ซึ่งพุทธศิลปบางสกุลจะทําเปนบัวตูมบางเปนยอดแหลมบาง เปลวรัศมีนี้ชวยเสริมพุทธลักษณะของพระพุทธปฏิมากรรมใหมีความเดนพิเศษขึ้น ทานผูรูกลาววา “เปนปริศนาธรรม” หมายถึงพระปญญาตรัสรูที่แทงทะลุปญหาคือทุกขทั้งปวง หรือแทงทะลุกระแสโลกยกจิตขึ้นอยูเหนือโลก หากสังเกตใหดีในการเขาวัดวาอารามบางวัดจะมีวิหาร หรือศาลาสมัยเกาหลายแหงที่ประดิษฐานพระประธานองคใหญ เพดานเหนือพระเศียรจะเจาะชองใหยอดพระเกตุมาลาทะลุขึ้นไป ดูเหมือนกับวาทําเพดานเตี้ยไปหนอยหนึ่ง แตทานวานั่นคือปริศนาธรรม เตือนใจผูไหวพระใหระลึกวา “จงมีปญญาแทงทะลุกระแสโลก” ผูเชี่ยวชาญดานพุทธประติมากรรมใหการสรุปเรื่องนี้ไวอยางนาคิดวา “แรกเริ่มเดิมทีพระรัศมีเปนรูปประภามณฑล มีลักษณะกลมลอมพระเศียร มีจุดศูนยกลางอยูที่กึ่งกลางระหวางคิ้ว  ภายหลังเปลี่ยนไปเปนดวงกลมเล็กอยูเหนือพระนลาฏ ตอมาจึงเลื่อนขึ้นไปอยูบนพระเกตุมาลา มีลักษณะเปนรูปตอมกลมหรือปลายแหลมดุจดอกมะลิตูม ซึ่งหมายถึงกอนแกว คือ “โพธิญาณ หรือดวงปญญา” เมื่อมีการประดิษฐพระรัศมีเปนรูปเปลวขึ้น ซึ่งเขาใจวาเกิดในสุวรรณภูมินี้เอง แมจะมีบางในอินเดียและลังกาแตก็ไมแสดงอยางชัดเจนเหมือนดังที่ปรากฏอยูทุกวันนี้  พระรัศมีรูปเปลวมีใจกลางเปนรูปอุณาโลม ซึ่งเปนอักษรแทนคําวา “โอม” อันเปนคําตนของการกลาวมนตคาถา หรือคําแรกที่เอยขึ้นเพื่อความศักดิ์สิทธิ์  สวนลักษณะรูปเปลวนั้น เปนสวนที่ตกแตงขึ้นตามแนวเสนออนไหวของตัวอุณาโลม จึงพบวารัศมีรูปเปลวนั้นมีลักษณะแตกตางกันออกไปตามความนิยม”

๓. แนวคิดในเชิงคติสัญลักษณ

ศิลาพระเกตุแกวโพธิญาณที่ประดิษฐานวัดปาธรรมอุทยาน มีลักษณะเปนหินทรายเขียว นายชางสมศักดิ์ สมสุข ชาววังน้ำเขียวเปนผูแกะสลักเสาหิน มีน้ำหนักประมาณ ๕ ตัน หรือ ๕,๐๐๐ กิโลกรัม ฐานกวาง ๑.๕๐ เมตร ยาว ๒ เมตร ฐานตั้งพระเกตุสูง ๐.๕๐ เมตร ความสูงของพระเกตุ ๒.๔๐ เมตร ความหนา ๐.๙๐ เมตร รวมความสูงของยอดพระเกตุแกวโพธิญาณ ๒.๙๐ เมตร แกะสลักเปนรูปเปลวรัศมียอดพระเกศบนพระเศียรของพระพุทธเจา ดานหนาแกะเปนรูปดวงตามนุษยและภายในดวงตาก็มีวงลอพระธรรมจักรปรากฏอยู เปนคติสัญลักษณเชิงปริศนาธรรมวา “ขอใหไดดวงตาเห็นธรรม” อีกดานหนึ่งของศิลา ก็แกะสลักเปนรูปนูนพระพุทธเมตตาหันหนาเขาไปในศิลาพระเกตุแกวโพธิญาณ ซึ่งหมายถึง การสรางคุณงามความดีแบบผูปดทองหลังพระ หรือการทําบุญไมหวังหนาตา

 

ดังพระบรมราโชวาท ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ๒๕ กรกฎาคม ๒๕๐๖ วา

“การปดทองหลังพระนั้น เมื่อถึงคราวจําเปนก็ตองปด วาที่จริงแลว คนโดยมากไมคอยชอบปดทองหลังพระกันนัก เพราะวาไมมีใครเห็น แตถาทุกคนพากันปดทองแตขางหนา ไมมีใครปดทองหลังพระเลย พระจะเปนพระที่งามบริบูรณไมได”  ถัดขึ้นไปขางบนจะเปน เลข ๙ หมายถึง มรรค ๔ ผล ๔ นิพพาน ๑ ซึ่งเปนขอปฏิบัติใหถึงโลกุตรธรรมก็คือโพธิปกขิยธรรม ๓๗ ประการ หมายถึง ธรรมอันเปนฝกฝายแหงความตรัสรู ประกอบดวยธรรมะ ๗ หมวด ไดแก สติปฏฐาน ๔, สัมมัปปธาน ๔, อิทธิบาท ๔, อินทรีย ๕, พละ ๕, โพชฌงค ๗, มรรคมีองค ๘  หรือในแงคติการดําเนินชีวิตวา จงกาวไปใหถึงที่สุดคือยอดแหงชัยชนะ และบนปลายยอดสุดของศิลาพระเกตุแกวโพธิญาณก็ไดแกะเปนสัญลักษณพระมหาเจดียพุทธคยา ซึ่งเปนสถานที่ตรัสรูของพระสัมมาสัมพุทธเจานั่นเอง  

 

กาลตอมาเมื่อวันจันทรที่ ๒๕ กันยายน พ.ศ.๒๕๖๐ ตรงกับวันขึ้น ๕ ค่ำ เดือน ๑๑ ประกา เวลา ๐๙.๑๐ น. คณะสงฆวัดปาธรรมอุทยาน และนายชางสมศักดิ์ สมสุข ไดทําพิธีอัญเชิญศิลาพระเกตุแกวโพธิญาณขึ้นประดิษฐาน ณ บริเวณหลังอุโบสถพุทธชยันตี เพื่อเปนพุทธานุสาวรียของพระพุทธเจาผูทรงประเสริฐที่สุดในโลกนี้

๔. เจาภาพและอัตถจารีชน

คุณภุชคฤน ตั้งตรงเจตนา และครอบครัว : ผูสรางถวาย

นายชางสมศักดิ์ สมสุข : ผูแกะหิน

พระอธิการกุหลาบ อัคคจิตโต : ผูควบคุมดูแลการตั้ง

พระมหาอาย ธีรปญโญ : ผูใหแนวคิดจัดสราง

ศิลาพระเกตุแกวโพธิญาณนี้ใชงบจัดสรางทั้งสิ้น ๒๕๐,๐๐๐ บาท (สองแสนหาหมื่นบาทถวน)

๕. ประโยชนการใชสอย

เปนสังเวชนียสถานที่ตรัสรูจําลองของพระพุทธเจา, เปนลานธรรมเพื่อการศึกษาแลกเปลี่ยนเรียนรูของพุทธศาสนิกชน, และเปนจุดทองเที่ยวทองธรรมสําคัญของวัดปาธรรมอุทยาน

bottom of page