top of page

จากป่าช้าสู่อุทยานธรรม

          วัดปาธรรมอุทยานเปนรมณียวิปสสนาสถานอุทยานปฏิบัติธรรมแหงจังหวัดมหาสารคาม มีฐานะเปนวัดราษฎร สังกัดคณะสงฆมหานิกาย ในเขตการปกครองคณสงฆภาค ๙ ตั้งอยูเลขที่ ๑๔๙ หมูที่ ๘ บานเหลายาว ติดกับบริเวณพื้นที่ปาโคกดินแดง มีเนื้อที่ประมาณ ๑,๐๐๐ ไรเศษ ของตําบลกําพี้ อําเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม โดยมีอาณาเขต

              ทิศเหนือจรดกับบานดอนงัว  

              ทิศใตจรดกับบานผักหวาน  

              ทิศตะวันออกจรดกับบานเหลาใหญ

              ทิศตะวันตกจรดกับบานฝาง

          ที่ดินที่ตั้งวัดมีจํานวน ๓๙ ไร ๘๐ ตารางวา มีหนังสือสรรมสิทธิ์คือ โฉนดที่ดินเลขที่ ๒๑๓๒๗ โดยมีประวัติยอวา เมื่อป พ.ศ. ๒๕๓๙ ในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ ๙ ทรงครองสิริราชสมบัติครบ ๕๐ ป พระอาจารยกุหลาบ อคฺคจิตฺโต (ศรีคาม) และพระมหาเดน ฐิตธมฺโม (บุปะเท) พระกรรมฐานผูมีชาติภูมิในเขตทองถิ่นมหาสารคาม ไดเขามาปกกลดในพื้นที่ปาชาโคกดินแดงเพื่อปฏิบัติธุดงควัตรเจริญวิปสสนากรรมฐาน และมีเจตนาประสงคเพื่อรักษาผืนปาที่เสื่อมโทรม ดวยพุทธวิธี “บวชปารักษาธรรม” ทานไดพัฒนาฟนฟูตนไมจนเปนปารมณียสถานเขียวขจีอันรมรื่นเกิดประโยชน ตอชุมชนชาวบานทั้งดานกายภาพและชีวภาพอยางมหาศาล

       

          ตอมาป พ.ศ.๒๕๔๔ ไดอนุมัติจัดตั้ง เปนสํานักสงฆปาโคกดินแดง จากนั้นป พ.ศ. ๒๕๕๕ สํานักงานพระพุทธศาสนาแหงชาติไดประกาศตั้งเปนวัดขึ้นในพระพุทธศาสนามีนามวา “วัดปาธรรมอุทยาน” หมายถึง ผืนแผนดินแหงมรรคผลนิพพาน โดยอาศัยปาเปน แหลงเรียนรูธรรมะสูความหลุดพนจากทุกขทั้งปวง  

 

          กาลตอมาเมื่อปพุทธศักราช ๒๕๕๕ เนื่องในมหามงคลธรรมาภิสมัยฉลองพุทธชยันตี ๒๖๐๐ ปแหงการตรัสรูของพระพุทธเจา ทานพระมหาอาย ธีรปญโญ (วงละคร) ไดนําพาพุทธบริษัท สายบุญพุทธภูมิและศิษยานุศิษยหลอมศรัทธารวมปญญาสรางศาสนสถาน เพื่อนอมถวายบูชาคุณ พระรัตนตรัย นอมถวายเปนพระราชกุศล นอมบูชาคุณแผนดินเกิดและเนนใหเปนสถานที่ปฏิบัติ ธรรมเชิงทองเที่ยวทองธรรม ตามปรัชญาแนวความคิด ๔ ง. คือ เงียบ-งาย-งอก-งาม โดยบริหารพื้นที่แบงปน ๕ เขต คือ    เขตพุทธาวาส เขตธัมมาวาส เขตสังฆาวาส เขต ธุดงคาวาส และเขตอรัญญาวาส มีสิ่งกอสรางซึ่งสรางเสร็จแลวภายใน ๕ ป ไดแก อุโบสถพุทธชยันตี พระธาตุดินแดง (กําลังกอสราง) หอฉันลุมพินีวัน หอภาวนาพุทธคยา หอแจกสารนาถ เรือนพักแม ขาว โรงครัว หองสุขา ถนนคอนกรีต สระมุจลินทสิงหนาคราช เสาหินอโศกมหาราช ศิลาพระเกตุ แกวโพธิญาณ ศิลาพระธรรมจักรปฐมเทศนา หอเก็บนํา กุฏิรับรองพระมหาเถระ สํานักงานโคก ดินแดงวิชชาลัย หมูกุฏิกรรมฐาน ๕๙ หลัง ตักสิลาวโนทยาน ลานหินโคงศรีสาลคาม ลานหมอชีวก โพธิวัน การติดตั้งเสาและระบบกระแสไฟฟา ถนนบดอัดหินคลุก และปลูกตนหางนกยูงเปนอุโมงค ธรรม เปนตน

 

          ทุกองคาพยพของงานขับเคลื่อนอยูภายใตกรอบความคิดวา “สถาปตยกรรมแหง อารยธรรมอีสาน รมณียวิปสสนาสถานแหงตักสิลานคร” จากตั้งตนเปนสํานักสงฆมีเพียงแคผืนปา ดินแดงแหงแลงในอดีต กลับฟนชีวิตเปนปารมณียสถานที่อุดมรมรื่นดวยแมกไมนานาพันธุ  ปจจุบัน ทางวัดไดเปดปามุงเผยแผพระพุทธศาสนาและบําเพ็ญกุศลสงเคราะหแกพุทธศาสนิกชนทั้งเชิงกวาง เชิงลึกตลอดป เชน งานปริวาสกรรม งานปฏิบัติธรรมกรรมฐาน งานอบรมศีลธรรม งานบวชสามเณร ภาคฤดูรอน เปนตน อีกทั้งจัดสรรพื้นที่กอสรางศาสนสถานเทาที่จําเปน และใชสอยทรัพยากรที่มีอยู ใหเกิดประโยชนสูงสุดดวยวิสัยทัศนที่วา “ประหยัดใชสอย ประโยชนใชสูง” โดยอาศัยทุนศรัทธา ความรวมแรงรวมใจของพุทธศาสนิกชนสืบจนปจจุบัน

bottom of page